พระมงคลเทพมุนี (สด จันทสโร)

กัณฑ์ ๑๗ ศีลเบื้องต่ำและศีลเบื้องสูง

กัณฑ์ที่ ๑๗ ศีลเบื้องต่ำและศีลเบื้องสูง ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๙๗ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมาสัมพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) อเนกปริยาเยน โข ปน เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ปญฺญา สมฺมทกฺขาตาฯ กถญฺจ สีลํ สมฺมทกฺขาตํ ภควตาฯ เหฎฺฐิเมนปิ ปริยาเยน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ ภควตาฯ อุปริเมนปิ ปริยาเยน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ ภควตาฯ กถญฺจ เหฎฺฐิเมน ปริยาเยน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ ภควตาฯ อิฐ อริยสาวโก ปาณาติปาตา ปฏิวิรโต โหติ อทินฺนาทานา …

กัณฑ์ ๑๗ ศีลเบื้องต่ำและศีลเบื้องสูง Read More »

กัณฑ์ ๑๘ สมาธิเบื้องต่ำและสมาธิเบื้องสูง

กัณฑ์ที่ ๑๘ สมาธิเบื้องต่ำและสมาธิเบื้องสูง ๒๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๙๗ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) กถญฺจ สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ภควตาฯ เหฎฺฐิเมนปิ ปริยาเยน สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ภควตาฯ อุปริเมนปิ ปริยาเยน สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ภควตาฯ กถญฺจ เหฎฺฐิเมน ปริยาเยน ส  มาธิ สมฺมทกฺขาโต ภควตาฯ อิฐ อริยสาวโก โวสฺสคฺคารมฺมณํ กริตฺวา ลภติ สมาธึ ลภติ จิตฺตสฺเสกคฺคตนฺติฯ เอวํ โข เหฎฺฐิเมนปิ ปริยาเยน สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ภควตาฯ กถญฺจ อุปริเมน ปริยาเยน สมาธิ สมฺมทกฺขาโต …

กัณฑ์ ๑๘ สมาธิเบื้องต่ำและสมาธิเบื้องสูง Read More »

กัณฑ์ ๑๙ โอวาทปาฏิโมกข์

กัณฑ์ที่ ๑๙ โอวาทปาฏิโมกข์ ๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๗ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) กถญฺจ ปญญา สมฺมทกฺขาตา ภควตาฯ เหฎฺฐิเมนปิ ปริยาเยน ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ภควตาฯ อุปริเมนปิ ปริยาเยน ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ภควตาฯ กถญฺจ เหฎฺฐิเมน ปริยาเยน ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ภควตาฯ อิฐ อริยสาวโก ปญฺญวา โหติ อุทยตฺถคามินิยา ปญฺญาย สมนฺนาคโต อริยาย นิพฺเพธิกาย สมฺมา ทุกฺขกฺขยคามินิยาติฯ เอวํ โข เหฎฺฐิเมน ปริยาเยน ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ภควตาฯ กถญฺจ อุปริเมน ปริยาเยน …

กัณฑ์ ๑๙ โอวาทปาฏิโมกข์ Read More »

กัณฑ์ ๒๐ ศีลทั้ง ๓ ประการ

กัณฑ์ที่ ๒๐ ศีลทั้ง ๓ ประการ ๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๗ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) อธิสีลสิกฺขาสมาทาเน อธิจิตฺตสิกฺขาสมาทาเน อธิปญฺญาสิกฺขาสมาทาเน อปฺปมาเทน สมฺปาเทสฺสามาติ เอวญฺหิ โน สิกฺขิตพฺพนฺติฯ โอวาทปาติโมกฺขาทิปาโฐ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงธรรมิกถา แก้ด้วยศีลทั้ง ๓ ประการ ซึ่งสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ทรงประทานเทศนาเรียกว่า อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา ทั้ง ๓ ประการ นี้เป็นศีลทางพุทธศาสนาต้องประสงค์ แม้ศีลตั้งแต่เป็นศีลต่ำลงไปกว่านี้ พุทธศาสนาก็นิยมยินดี เพราะศีล สมาธิ ปัญญา ทั้ง ๓ ประการ ได้แสดงมาแล้ว ศีลโดยปริยายเบื้องต่ำ ประสงค์เอาศีล ๕ ประการ ศีลโดยปริยายเบื้องสูง ประสงค์เอาปาฏิโมกข์สังวรศีล …

กัณฑ์ ๒๐ ศีลทั้ง ๓ ประการ Read More »

กัณฑ์ ๑๐ ขันธ์ ๕ เป็นภาระอันหนัก

กัณฑ์ที่ ๑๐ ขันธ์ ๕ เป็นภาระอันหนัก ๒๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) ภาราหเว ปญฺจกฺขนฺธา ภาราทโร จ ปุคฺคโล ภาราทานํ ทุกฺขํ โลเก ภารนิกฺ เขปนํ สุขํ นิกฺขิปิตฺวา ครุํ ภารํ อญฺญํ ภารํ อนาทิย สมูลํ ตณฺหํ อพฺพุยฺห นิจฺฉาโต ปรินิพฺพุโตติฯ สํ.ข. (บาลี) ๑๗/๕๓/๓๒-๓๓ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงธรรมิกถา แก้ด้วย ขันธ์เป็นภาระอันหนัก ตามวาระพระบาลีและคลี่ความเป็นสยามภาษา เพราะว่าเราท่านทั้งหลายเกิดมาหญิงชายทุกถ้วนหน้า ล้วนแต่แบกภาระขันธ์ ๕ ด้วยกันทั้งนั้น ขันธ์ ๕ เป็นของหนักไม่ใช่ของเบา หนักอย่างไร …

กัณฑ์ ๑๐ ขันธ์ ๕ เป็นภาระอันหนัก Read More »

กัณฑ์ ๒ โพธิปักขิยธรรมกถา อริยอัฏฐังคิกมรรค

กัณฑ์ที่ ๒ โพธิปักขิยธรรมกถา อริยอัฏฐังคิกมรรค หน้า ๕๗ เทศนาในช่วงปีพุทธศักราช ๒๔๙๑ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) กตมา จสา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติฯ อยเมว อริโย อฎฺฐํคิโก มคฺโคฯ เสยฺยถีทํฯ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธีติฯ วิ.ม.(บาลี)๔/๑๓/๑๘ อาตมภาพจะได้แสดงธรรมิกถา แก้โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ซึ่งเป็นทางตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าพระอรหันต์ทุกพระองค์มา โดยเฉพาะพระธรรมที่จะแสดงในวันนี้ แสดงในมรรคทั้ง ๘ ที่พระองค์ได้ทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ทั้ง ๔ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี …

กัณฑ์ ๒ โพธิปักขิยธรรมกถา อริยอัฏฐังคิกมรรค Read More »

กัณฑ์ ๓ รตนัตยคมนปณามคาถา

กัณฑ์ที่ ๓ รตนัตยคมนปณามคาถา หน้า ๖๕ ๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) อิจเจตํ รตนตฺตยํ พุทฺโธ ธมฺโม สงฺโฆจาปี นานาโหนฺตมฺปิ วตฺถุโต อญฺญมญฺญาวิโยคาว เอกีภูตมฺปนตฺถโต พุทฺโธ ธมฺมสฺส โพเธตา ธมฺโม สงฺเฆน ธาริโต สงฺโฆ จ สาวโก พุทฺธสฺส อิจเจกาพทฺธเมวิทนฺติฯ รตนตฺตยปฺปภาวาภิยาจนคาถา พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาตมาขอโอกาสแก่ท่านมหาชนทั้งหลาย ทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิต บรรดามีศาสนาเป็นภารกิจ หวังปฏิบัติให้ถูกสนิทตามศาสนาของตนๆ จึงได้อุตส่าห์พากัน ทรมานร่างกายในเวลาทำกิจทางศาสนา ทุกๆศาสนาล้วนแต่สอนให้ ละความชั่ว ประพฤติความดี สิ้นด้วยกันทุกชาติทุกภาษา ส่วนในทางพระพุทธศาสนา เวลาเช้าเวลาเย็นไหว้พระบูชาพระและสวดสังเวคกถา ปสาทกถา ตามกาลเวลา เสร็จแล้วที่มีกิจเรียนคันถธุระก็เรียนไป ที่มีกิจเรียนวิปัสสนาธุระก็เรียนไป ฝ่ายพระเถรานุเถระก็เอาใจใส่ตักเตือนซึ่งกันและกันตามหน้าที่ …

กัณฑ์ ๓ รตนัตยคมนปณามคาถา Read More »

กัณฑ์ ๔ อาทิตตปริยายสูตร

กัณฑ์ที่ ๔ อาทิตตปริยายสูตร หน้า ๗๕ ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) เอวมฺเม สุตํฯ เอกํ สมยํ ภควา คยายํ วิหรติ คยา สีเส สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสนฯ ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิฯ สพฺพํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํฯ กิญฺจ ภิกฺขเว สพฺพํ อาทิตฺตํฯ จกฺขุํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ รูปา อาทิตฺตา จกฺขุวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ จกฺขุสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมฺปิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ …

กัณฑ์ ๔ อาทิตตปริยายสูตร Read More »

กัณฑ์ ๕ สิ่งที่เป็นเกาะเป็นที่พึ่งของตน

กัณฑ์ที่ ๔ สิ่งที่เป็นเกาะเป็นที่พึ่งของตน ๑๓ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) อตฺตทีปา อตฺตสรณา อนญฺญสรณา ธมฺมทีปา ธมฺมสฺสรณา อนญฺญสรณาติฯ ส.ข.(บาลี)๑๗/๘๗/๕๓ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงธรรมิกถา แก้ด้วยสิ่งที่เป็นเกาะและสิ่งที่เป็นที่พึ่งของตน ทุกถ้วนหน้า สมเด็จพระบรมศาสดาทรงสงเคราะห์พวกเราทั้งหลาย ซึ่งไม่รู้จักตนว่าเป็นเกาะและเป็นที่พึ่งของตน ให้รู้จักว่าตนเป็นเกาะเป็นที่พึ่ง พระบรมทศพลจึงได้ทรงชี้แจงแสดงธรรมนี้ ที่พึ่งอันนี้แหละไม่ใช่เป็นของพอดีพอร้าย นอกจากพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว รู้เองไม่ได้ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น ที่จะรู้เอง ได้รู้สิ่งที่เป็นเกาะเป็นที่พึ่งของตนได้ พระบรมทศพลเมื่อตรัสปฐมเทศนาธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โปรดภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ สำเร็จแล้ว ก็ตรัสเทศนาอนัตตลักขณสูตรโปรดพระยสะและสหายรวม ๕๕ สำเร็จแล้ว ทรงดำเนินไปยังเหล่าชฏิล ๑,๐๐๓ รูปในระหว่างทางนั้น ไปพบพวกราชกุมารเล่นซ่อนหาปิดตากัน ในป่าไร่ฝ้าย ราชกุมารเหล่านั้นมีมเหสีด้วยกันทั้งนั้น แต่ราชกุมารอีกองค์หนึ่ง มเหสีนั้นเป็นมเหสีกำมะลอ จ้างเขาไป ไม่ใช่ของตนโดยตรง จ้างหญิงแพศยาไป ครั้นไปถึง …

กัณฑ์ ๕ สิ่งที่เป็นเกาะเป็นที่พึ่งของตน Read More »

กัณฑ์ ๖ สังคหวัตถุ

กัณฑ์ที่ ๖ สังคหวัตถุ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตฺสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) ทานญฺจ เปยฺยวชฺชญฺจ อตฺถจริยา จ ยา อิฐ สมานตฺตตา จ ธมฺเมสุ ตตฺถ ตตฺถ ยถารหํ เอเต โข สงฺคหา โลเก รถสฺสาณีว ยายโต เอเต จ สงฺคหา นาสฺสุ น มาตา ปุตฺตการณา ลเภถ มานํ ปูชํ วา ปิตา วา ปุตฺตการณา ยสฺมา จ สงฺคหา เอเต สมเวกฺขนฺติปณฺฑิตา ตสฺมา มหตฺตํ ปปฺโปนติ ปาสํสาจ …

กัณฑ์ ๖ สังคหวัตถุ Read More »

กัณฑ์ ๗ มงคลกถา

กัณฑ์ที่ ๗ มงคลกถา อยู่ในประเทศอันสมควร ๑ ความเป็นผู้มีบุญทำแล้วในกาลก่อน ๑ การตั้งตนไว้ชอบ ๑ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตฺสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมนฺติ ฯ ขุ.สุ.(บาลี) ๒๕/๓๑๘/๓๗๖ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงมงคลกถาวาจา เครื่องกล่าวปรารภเหตุเครื่องถึงซึ่งความเจริญ ดังนี้ เป็นข้อใหญ่ใจความ ในสากลโลกก็ต้องการความเจริญด้วยกันทั้งนั้น หลีกเลี่ยงหนีความเสื่อมสิ้นด้วยกันทั้งนั้น ความเสื่อมเป็นอนิฏฐผล ไม่เป็นที่ปรารถนาแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า ความเจริญเล่าเป็นอิฏฐผล เป็นที่ปรารถนาแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่าดุจเดียวกัน เหตุนั้นเราท่านทั้งหลาย ทั้งคฤหัสถ์บรรพชิตบรรดามาสโมสรในสถานที่นี้ทุกถ้วนหน้า ก็ต้องการเหตุเครื่องถึงซึ่งความเจริญดุจเดียวกัน เมื่อเป็นดังนั้น จงมนสิการกำหนดไว้ในใจ ในเวลาที่สดับตรับฟังพระธรรมเทศนาสืบต่อไป ในสัปดาห์ก่อนโน้น ได้แสดงตามวาระพระบาลีว่า อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺ …

กัณฑ์ ๗ มงคลกถา Read More »

กัณฑ์ ๘ พระปรมัตถ์ : อกุศลจิต

กัณฑ์ที่ ๘ พระปรมัตถ์ : อกุศลจิต ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตฺสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) ตตฺถ วุตฺตาภิธมฺมตฺถา จตุธา ปรมตฺถโต จิตฺตํ เจตสิกํ รูปํ นิพฺพานมีติ สพฺพถาติฯ วิภาวินีฎีกา (บาลี) ๑ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงธรรมิกถาแก้ด้วยปรมัตถเทศนา ซึ่งมีมาในพระปรมัตถปิฏก ยกอุเทศในเบื้องต้นขึ้นแสดงก่อน เพื่อจะได้เป็นอุทาหรณ์แนะนำแก่ท่านทั้งหลาย สืบไปเป็นลำดับๆ ตามวาระพระบาลีคลี่ความเป็นสยามภาษา เริ่มต้นแห่งปรมัตถปิฎกนี้ว่า ตตฺถ วุตฺตาภิธมฺมตฺถา ในพระอภิธรรมปิฎกนั้น กล่าวโดยความประสงค์แล้ว ถ้าจะกล่าวโดยอรรถอันลึกซึ้งโดย ปรมัตถ์ ก็จัดเป็น ๔ ประการ ๑ จิต ๒ เจตสิก ๓ รูป ๔ นิพพาน ๔ …

กัณฑ์ ๘ พระปรมัตถ์ : อกุศลจิต Read More »

กัณฑ์ ๙ เบญจขันธ์

กัณฑ์ที่ ๙ เบญจขันธ์ ๒๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๖ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ (๓ หน) อุปฺปชฺชนฺติ นิรุชฺฌนฺติ เอวํ หุตวา อภาวโต เอเต ธมฺมา อนิจฺจาถ ตาวกาลิกตาทิโต สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยาติฯ อภิ.ก. (บาลี) ๓๗/๑๖๕๘/๕๖๒ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักได้แสดงธรรมิกถา เป็นอนุสนธิในการเทศนาเนื่องจากวันอาทิตย์โน้น เทศนาวันนี้จะแสดงในเบญจขันธ์ทั้ง ๕ ของเราท่านทั้งหลาย หญิงชายทุกถ้วนหน้า เบญจขันธ์ทั้ง ๕ นี้มีสภาพเกิดขึ้น ตั้งขึ้นอยู่ แตกแล้วดับไป ตำรับตำราได้กล่าวไว้ว่า อุปฺปาท แปลว่า ความบังเกิดขึ้น …

กัณฑ์ ๙ เบญจขันธ์ Read More »

กัณฑ์ ๑-๔ สุคโต

กัณฑ์ ๑ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ สุคโต แปลได้เป็นหลายนัย เช่นว่า ไปดีแล้ว ไปสู่ที่ดี หรือทรงพระดำเนินงาม ที่ว่าไปดีแล้ว หมายถึงว่า พระองค์ประพฤติดีทั้งกาย วาจา ใจ คือ กายเป็นสุจริต วาจาสุจริต ใจสุจริต ประพฤติสม่ำเสมอมาเป็นอเนกชาติ ดับขันธ์จากชาติหนึ่ง ก็ไปสู่สุคติ ทุกชาติ ไม่ไปสู่ทุคติเลย อย่างนี้ก็เรียกว่า สุคโต ไปดีแล้ว . นัยหนึ่งพระองค์ดำเนินกาย วาจา ใจ ไปในแนวอริยมรรคได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น สัมมาสมาธิเป็นปริโยสาน ซึ่งย่อลงเป็น ศีล สมาธิ ปัญญา พระองค์เดินทางศีลเป็นเบื้องต้น ศีลมีประเภทจำแนกละเอียดไว้มากมาย รวมเข้าเป็นวินัยปิฎกถึง ๕ พระคัมภีร์ รวมยอดเข้าเป็นปฐมมรรค ปฐมมรรคเป็นดวงใสอยู่ในกึ่งกลางกายนั้นแหละ รวมยอดมาจากศีล นี่แหละตัวศีล สุคโตในทางศีล พระองค์เดินทางใจ ไปหยุดอยู่ตรงดวงปฐมมรรคนั้น . …

กัณฑ์ ๑-๔ สุคโต Read More »

กัณฑ์ ๑-๕ โลกวิทู

กัณฑ์ ๑ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ โลกวิทู โลกวิทู แปลว่า รู้แจ้งซึ่งโลก โลกแบ่งออกเป็น ๓ คือ สังขารโลก สัตว์โลก โอกาสโลก โลกทั้ง ๓ นี้ สมเด็จพระบรมศาสดาทรงรู้แจ้งหมด รู้ถึงความเป็นไปของโลกเหล่านี้โดยละเอียดด้วย จึงได้พระนามว่า โลกวิทู คำว่า โลก หมายความว่า เป็นที่ก่อแห่งสัตว์ หรือนัยหนึ่งว่า เป็นที่ก่อผลแห่งสัตว์ ซึ่งว่าเป็นที่ก่อแห่งสัตว์ก็คือ เป็นที่เกิด ที่อยู่แห่งสัตว์ ที่ว่าเป็นที่ก่อผลแห่งสัตว์ก็คือ เป็นที่ซึ่งสัตว์ได้อาศัย ก่อกุศลและอกุศล ว่าโดยเฉพาะโลกมนุษย์ เป็นที่มนุษย์อาศัยสร้างบุญ แล้วก็ได้ผลไปบังเกิดในสวรรค์ หรือบำเพ็ญบารมี แล้วส่งผลไปสู่นิพพาน ดั่งเช่น องค์สมเด็จพระศาสดา ถ้าสร้างบาปแล้ว ก็เป็นผลให้ไปเกิดในนรก สังขารโลก คือ โลกที่มีอาหาร เป็นปัจจัยปรุงแต่ง ได้แก่ คำว่า อาหารฏฺฐิติกา สัตว์อยู่ได้เพราะอาหารปรนปรือ อาหาร แปลว่า ประมวลมา หรือเครื่องปรนปรือ …

กัณฑ์ ๑-๕ โลกวิทู Read More »